Welcome to my blog (:

วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

Verbs ( คำกริยา )

คำกริยาเป็นการบอกอาการ หรือการกระทำ  ( action ) หรือความมีอยู่  เป็นอยู่  ( being ) หรือ สภาวะความเป็นอยู่ ( state of being )

การกระทำ                            ความมีอยู่ ,เป็นอยู่                       สภาวะความเป็นอยู่
ฺ็ำHe eats                               He is a boy.                              He seemed tired.
He went home                     She has a beautiful house.         This cake tastes good.




การจำแนกชนิดของคำกริยา  มีการแบ่งไว้หลายวิธีสุดแต่จะคำนึงอะไรเป็นหลัก เช่น

1. แ่บ่้่งตามหน้าที่โดยยึดเป็นกรรม  ( Object ) เป็นเกณฑ์มี 2 ชนิด

Transitive Verbs  ( สกรรมกริยา )  คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารับ  เช่น 

  • He bought a book. ( a book เป็นกรรม )

  • Intransitive Verbs ( อกรรมกริยา ) คำกริยาที่ไม่ต้องมีกรรม    เช่น 
    He arrived late. 

     

     

วันจันทร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

Verb to do

Do และ Does มีหลักการใช้คือ ถ้าเป็นกริยาสำคัญหรือกริยาแท้ในประโยคจะมีความหมายว่า ทำ
ต้องแยกใช้ไปตามประธานของประโยคให้ถูก เช่น
He does his homework.
They do their homework.

เป็นกริยาช่วยในประโยคคำถามและปฏิเสธที่มีกริยาแท้อยู่แล้วในประโยค และประโยคนั้นไม่มี Verb to be
( is am are ) .ในบริบทของประโยคเช่นนี้ do , does จะไม่มีความหมาย เป็นเพียงตัวช่วย เช่น

He does not have any sisters.

We do not buy a big car.

Remark : Verb to be ไม่อยู่ เอา Verb to do เข้ามาช่วย do not ใช้รูปย่อเป็น don’t / does not ใช้รูปย่อเป็น doesn’t

อ่านต่อที่นี่>>>

วันอาทิตย์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

If Clauses

 If Clauses หรือ Conditional Sentences
คือ ประโยคที่มีข้อความแสดงเงื่อนไข (conditions) หรือการสมมุติ
ซึ่งประกอบด้วยประโยคเล็ก 2 ประโยครวมกัน และเชื่อมด้วย conjunction "if"
ประโยคที่นำหน้าด้วย if แสดงเงื่อนไข เราเรียกว่า if-clause
และประโยคที่แสดงผลเงื่อนไขนั้น เราเรียกว่า main clause
If it rains , I shall stay at home.
(If-clause) (main clause) 


 If + Present Simple , Future Simple.......(type 1)
(if-clause) (main clause)


If + Past Simple , S + would + V1 ........(type 2)
(if-clause) (main clause)


If + Past Perfect , S+would/should + have +V3.........(type 3)
(If- clause) (main clause)


อ่านต่อที่นี่>>>

วันเสาร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

Nouns ( คำนาม )

 Types ( ชนิดของคำนาม )
    คำนาม ( Nouns ) หมายถึงคำที่ใช้เรียกคน สัตว์ สิ่งต่างๆ สถานที่ คุณสมบัติ สภาพ อาการ การกระทำ ความคิด ความรู้สึก ทั้งที่มีรูปร่างให้มองเห็น และไม่มีรูปร่าง  การแบ่งคำนามสามารถจำแนกได้หลายแบบแล้วแต่ตำรา  เท่าที่รวบรวมนำเสนอในที่นี้มี  4 แบบ คือ
แบบที่  1     แบ่งคำนามเป็น 2 ประเภท
แบบที่  2     แบ่งคำนามเป็น 3 ประเภท
แบบที่  3     แบ่งคำนามเป็น  4 ประเภท
แบบที่  4     แบ่งคำนามเป็น  7 ประเภท

ซึ่ง ใน  7  ประเภทนี้  3 ประเภทสุดท้ายได้แก่ material nouns, concrete nouns  และ mass  nouns อาจจัดอยู่ในกลุ่ม  common nouns  ได้ดังนี้
2 ประเภท
3 ประเภท
4 ประเภท
7 ประเภท
Common Nouns
Proper Nouns
Common Nouns
Proper Nouns
Abstract Nouns
Common Nouns
Proper Nouns
Abstract Nouns
Collective Nouns
1. Common Nouns
2. Proper Nouns
3. Abstract Nouns
4. Collective Nouns
5. Material Nouns
6. Concrete Nouns
7. Mass Nouns